Welcome to Montri ngaodet 's Web

การออกแบบระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง

Download เอกสารประกอบการเรียน

01 ธรรมชาติของแสง

02 หน่วยและศัพท์วัดแสง

03 แหล่งกำเนิดแสง

04 โคมไฟฟ้า

05 ออกแบบระบบแสงสว่าง

บทที่ 1 : ธรรมชาติของแสงและการมองเห็น

สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์เรามีความสัมพันธ์ต่อกันตลอดมา  มนุษย์สามารถรับรู้และสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ รอบๆ ตัว โดยอาศัยประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การเห็น การได้ยิน การรับรู้กลิ่น การับรู้รส และการสัมผัส โดยมนุษย์สามารถมองเห็นสิ่งรอบๆ ตัวโดยอาศัยการมองเห็นโดยใช้อวัยวะที่เรียกว่า ตา ซึ่งองค์ประกอบของตาจะได้กล่าวภายหลัง การที่คนเราจะสามารถมองเห็นได้ต้องอาศัยแสงเข้ามาช่วยในการมองเห็นหากไม่มีแสงคนเราก็ไม่

สามารถจะมองเห็นได้ เช่น ในตอนกลางคืน แสงจึงเป็นสิ่งสำคัญในการมองเห็น

 

 

บทที่ 2 : หน่วยและศัพท์วัดแสง

ก่อนที่เราจะทำการออกแบบแสงสว่างนั้นเราต้องทราบค่าหน่วยและศัพท์ทางการวัดแสงเพื่อให้สามารถออกแบบได้ถูกต้องตรงตามมาตรฐานของการออกแบบแสงสว่าง

 

 

บทที่ 3 : แหล่งกำเนิดแสง

นับตั้งแต่ครั้งแรกที่ Thomus Alva Edision ได้ประดิษฐไฟฟ้าหลอดแรกขึ้นจากนั้นก็ได้มีผู้คิดค้นประดิษฐและพัฒนาหลอดไฟฟ้าชนิดใหม่ๆขึ้นมาเพื่อใช้กับงานเฉพาะด้าน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาเพื่อได้นำไปใช้กับงานการออกแบบ ระบบแสงสว่างได้อย่างมี    ประสิทธิภาพสูงสุด

 

 

 

 

บทที่ 4 : โคมไฟฟ้า

หลอดไฟฟ้ามีหน้าที่ให้ความสว่างแต่ส่วนใหญ่มักมีการให้ความสว่างรอบตัวหลอดเอง  คือ  ไม่มีทิศทางการส่องสว่างที่แน่นอน  ยกเว้นหลอดประเภทที่มีตัวสะท้อนแสงภายในตัวเอง  หลอดที่ให้แสงสว่างรอบตัวมีประสิทธิภาพการใช้งานต่ำเพราะมีแสงออกรอบทิศแทนที่จะส่องไปในบริเวณที่ต้องการ  ดังนั้นการผลิตโคมไฟฟ้ามาเพื่อใช้กับหลอดไฟฟ้าก็เพื่อบังคับให้แสงส่องไปในทิศทางที่ต้องการ

 

 

 

 

บทที่ 5 : การออกแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่าง

การออกแบบระบบแสงสว่างถึงเป็นจุดเริ่มต้นในการออกแบบระบบไฟฟ้า หากมีการออกแบบระบบไฟฟ้าภายในอาคาร การออกแบบระบบแสงสว่างมักจะถูกออกแบบเป็นลำดับแรกเสมอก่อนที่จะไปออกแบบระบบไฟฟ้าในส่วนอื่นต่อไป โดยการออกแบบระบบแสงสว่างนั้นจะต้องเอาภาระโหลดของโคมไฟฟ้าไปรวมอยู่ในตารางโหลดด้วย

 

 

 

 

06 การออกแบบระบบไฟฟ้า

07 การคำนวณโหลดไฟฟ้า

08 การประมาณราคางานระบบไฟฟ้า

บทที่ 6 : การออกแบบระบบไฟฟ้า

การออกแบบระบบไฟฟ้านั้นมีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้ออกแบบที่จำเป็นจะต้องพิจารณาและจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบต่อการต้องการใช้พลังงานซึ่งจะแตกต่างกันตามการใช้งานในแต่ละอาคาร

 

 

บทที่ 7 : การคำนวณโหลดไฟฟ้า

งานออกแบบระบบไฟฟ้าเป็นงานที่วิศวกรไฟฟ้าหรือผู้ออกแบบจะต้องศึกษาและร่วมกันกับบุคคลหลายกลุ่ม เช่น สถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง วิศวกรระบบเครื่องกล วิศวกรระบบสุขาภิบาล และเจ้าของอาคาร นอกจากนี้ผู้ออกแบบระบบไฟฟ้าจะต้องศึกษาและทำความเข้าใจถึงรายละเอียดของมาตรฐานต่างๆ ซึ่งเป็นข้อกำหนดในการออกแบบซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งในการออกแบบระบบไฟฟ้า

 

 

บทที่ 8 : การประมาณราคางานระบบไฟฟ้า

การประมาณราคาระบบไฟฟ้า คือ การคำนวณค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบไฟฟ้าให้สมบูรณ์และใช้งานได้ตามแบบที่ออกแบบไว้

การประมาณราคาที่ดีจะต้องให้ตัวเลขค่าใช้จ่ายใกล้เคียงกับค่าใช้จ่ายที่ใช้จ่ายจริง แต่ทั้งนี้และทั้งนี้ความแม่นยำในการประเมินราคาจะสูงหรือต่ำ

 

 

 

 

ติดต่อ ผศ.มนตรี  เงาเดช

montri@rmutl.ac.th  / montri2007@gmail.com

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

 

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์

  เจ็ดลิน : 128 ถนนห้วยแก้ว อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 0-5392-1444 ต่อ 2124 โทรสาร 0-5321-3183

  เจ็ดยอด : 95 ถนนเชียงใหม่-ลำปาง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300โทรศัพท์ 0-5341-4250 - 2 โทรสาร 0-5341-4253

 

[ Since 06 / 09 / 2015 ]

Copyright © 2015 by montri. All Rights Reserved.

System Requirement :: Internet Explorer  or Netscape Navigator or Google Chrome | 1024x768 Resolution